วันศุกร์ที่ 31 กรกฎาคม พ.ศ. 2558

คำแสดงตนเป็นอุบาสก

คำแสดงตนเป็นอุบาสก

เอสาหัง ภันเต สุจิระปะรินิพพุตัมปิ ตัง ภะคะวันตัง สะระณัง
คัจฉามิ ธัมมัญจะ ภิกขุสังฆัญจะ อุปาสะกัตตัง สังโฆ ธาเรตุ

วันพฤหัสบดีที่ 30 กรกฎาคม พ.ศ. 2558

คำลาสิกขา

คำลาสิกขา

สิกขัง ปัจจักขามิ คิหีติ มัง ธาเรถะ
ข้าพเจ้าลาสิกขา ท่านทั้งหลายจงจำข้าพเจ้าไว้ว่า เป็นคฤหัสถ์

วันพุธที่ 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2558

คำอนุโมทนากฐิน

คำอนุโมทนากฐิน
อัตถะตัง  ภันเต  สังฆัสสะ  กะฐินัง

ธัมมิโก  กะฐินัตถาโร  อะนุโมทามะ(ว่า ๓ จบ)

วันอังคารที่ 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2558

คำขอขมาโทษ

คำขอขมาโทษ
(แบบทั่วไปที่แก้ไขใช้อยู่ในปัจจุบัน)
(ผู้ขอ) เถเร ปะมาเทนะ ทวารัตตะเยนะ กะตัง สัพพัง อะปะราธัง
           ขะมะถะ เม ภันเต (ถ้าขอหลายรูปเปลี่ยน ขะมะถะ เม เป็น
           ขะมะตุ โน)
(ผู้รับ) อะหัง ขะมามิ ตะยาปิ เม ขะมิตัพพัง (ถ้าผู้ขอมีหลายรูป
           เปลี่ยน ตะยาปิ เป็น ตุมเหหิปี)
(ผู้ขอ) ขะมามิ ภันเต (ถ้าขอหลายรูปเปลี่ยน มิ เป็น มะ)
                                   (แบบพิเศษนิยมใช้ถวายพระมหาเถระ) 
(ผู้ขอ)
 อัจจะโย มัง ภันเต อัจจัคคะมา ยะถาพาลัง ยะถามูฬหัง
            ยะถาอะกุสะลัง โยหัง ภันเต กะทาจิ กะระหะจิ ปะมาทัง
            วา อาคัมมะ อะโยนิโสมะนะสิการัง วา อาคัมมะ มะหาเถเร
            อะคาระวัง อะกาสิง กาเยนะ วา วาจายะ วา มะนะสา วา
 สัมมุขาปิ ปะรัมมุขาปิ ตัสสะ เม ภันเต มะหาเถโร อัจจะยัง
            อัจจะยะโต ปะฏิคคัณหาตุ อายะติง สังวะรายะ
(ผู้รับ) ตัคฆะ ตัง อาวุโส อัจจะโย อัจจัคคะมา ยะถาพาลัง
            ยะถามูฬหัง ยะถาอะกุสะลัง โย ตะวัง กะทาจิ กะระหะจิ
            ปะมาทัง วา อาคัมมะ อะโยนิโสมะนะสิการัง วา อาคัมมะ
            มะยิ อะคาระวัง อะกาสิ กาเยนะ วา วาจายะ วา มะนะสา
            วา สัมมุขาปิ ปะรัมมุขาปิ ยะโต จะ โข ตะวัง
            อัจจะยัง อัจจะยะโต ทิสวา ยะถาธัมมัง ปะฏิกกะโรสิ
            อายะติง สังวะรัง อาปัชชะสิ ตัง เต ปะฏิคคัณหามิ 
            วุฑติ เหสา อาวุโส อะริยัสสะ วินะเย โย อัจจะยัง
            อัจจะยะโต ทิสวา ยะถาธัมมัง ปะฏิกกะโรติ อายะติง
            สังวะรัง อาปัชชะติ

                       (คำอวยพรของผู้รับ) ยัง ยัง ปุญญัง มะยา กะตัง อุปะจิตัง
           กาเยนะ วา วาจายะ วา มะนะสา วา ตัง ตัง อายัสมะโต
           อาทิสสามิ สาธายัสมา อัสมิง อัสมิง ปุญเญ ปัตติโต
           หุตวา อะนุโมทะตุ เตนะ อะนุโมทะนามะเยนะปิ ปุญเญนะ
           สุขิโต โหตุ อะโรโค นิรุปัททะโว จิรัง ทีฆะมัทธานัง
           อิมัสมิง ตะถาคะตัปปะเวทิเต ธัมมะวินะเย วุฑฒิง วิรุฬหิง
           เวปุลลัง อาปัชชะตุ
 

(ผู้ขอ) สาธุ ภันเต

วันจันทร์ที่ 27 กรกฎาคม พ.ศ. 2558

คำปวารณาออกพรรษา

คำปวารณาออกพรรษา

         สังฆัมภันเต ปะวาเรมิ ทิฏเฐนะ วา สุเตนะ วา
ปะริสังกายะ วา วะทันตุ มัง อายัสมันโต อะนุกัมปัง อุปาทายะ
ปัสสันโต ปะฏิกกะริสสามิ ฯ
        ทุติยัมปิ ภันเต ปะวาเรมิ ทิฏเฐนะ วา สุเตนะ
วา ปะริสังกายะ วา วะทันตุ มัง อายัสมันโต อะนุกัมปัง อุปทายะ
ปัสสันโต ปะฏิกกะริสสามิ ฯ
         ตะติยัมปิ ภันเต สังฆัง ปะวาเรมิ ทิฏเฐนะ วา สุเตนะ
วา ปะริสังกายะ วา วะทันตุ มัง อายัสมันโต อะนุกัมปัง อุปาทายะ
ปัสสันโต ปะฏิกกะริสสามิ ฯ

วันอาทิตย์ที่ 26 กรกฎาคม พ.ศ. 2558

คําอธิษฐานเข้าพรรษา

คําอธิษฐานเข้าพรรษา
อิมัสมิง อาวาเส อิมัง เตมาสัง วัสสัง อุเปมิ (ว่า ๓ จบ)

ข้าพเจ้าขอเข้าสู่ ฤดูฝนสามเดือนนี้ ในอาวาสแห่งนี้

วันศุกร์ที่ 24 กรกฎาคม พ.ศ. 2558

คำถอนวิกัป

คำถอนวิกัป

(ถ้าผู้ถอนแก่กว่า ว่า)
        อิมัง  จีวะรัง  มัย๎หัง  สันตะกัง  ปะริภุญชะ  วา  วิสัชเชหิ  วา  ยะถาปัจจะยัง  วา  กะโรหิ.
         “จีวรของข้าพเจ้ายังพอมีใช้สอยอยู่ ข้าพเจ้าขอสละจีวรผืนนี้แก่ท่าน”

(ถ้าผู้ถอนอ่อนกว่า ว่า)
         อิมัง  จีวะรัง  มัย๎หัง  สันตะกัง  ปะริภุญชะถะ  วา วิสัชเชถะ  วา  ยะถาปัจจะยัง  วา  กะโรถะ.
“จีวรของข้าพเจ้ายังพอมีใช้สอยอยู่ ข้าพเจ้าขอสละจีวรผืนนี้แก่ท่าน”


คำวิกัป

คำวิกัป
“อิมัง  จีวะรัง  ตุย๎หัง  วิกัปเปมิ.”
“ข้าพเจ้าขอวิกัปป์ผ้าจีวิรผืนนี้แก่ท่าน”
(หลายผืนว่า อิมานิ  จีวะรานิ  ตุย๎หัง  วิกัปเปมิ)

(การวิกัปเป็นการทำให้เป็นของสองเจ้าของ)

วันพฤหัสบดีที่ 23 กรกฎาคม พ.ศ. 2558

คำคืน

คำคืน
“อิมัง  จีวะรัง  อายัส๎มะโต  ทัมมิ.”
“ข้าพเจ้าขอคืนจีวรผืนนี้แก่ท่าน”


วันอังคารที่ 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2558

คำเสียสละ

คำเสียสละ
        จีวรเป็นนิสสัคคียะ (คือต้องสละเสีย แล้วแสดงอาบัติ) เพราะอยู่ปราศจากเขตเป็นเหตุให้ล่วงราตรี
        ตั้ง นโม ๓ จบ แล้วว่า
        “อิทัง  เม  ภันเต  จีวะรัง  รัตติวิปปะวุตถัง  อัญญัต๎ระ  ภิกขุสัมมะติยา
นิสสัคคิยัง   อิมาหัง  อายัส๎มะโต  นิสสัชชามิ”
        “ข้าแต่ท่านผู้เจริญ จีวรผืนนี้ของข้าพเจ้า อยู่ปราศจากเขตเป็นเหตุให้ล่วงราตรี เป็นของจำเสียสละ ข้าพเจ้าขอเสียสละผ้าจีวรผืนนี้แก่ท่าน”   

             (ถ้า ๒ ผืนว่า ท๎วิจีวะรัง  ถ้าทั้ง ๓ ผืนว่า ติจีวะรัง)

วันจันทร์ที่ 20 กรกฎาคม พ.ศ. 2558

คำอธิษฐานบริขาร

คำอธิษฐานบริขาร
                       บาตร                   อิมัง  ปัตตัง  อะธิฏฐามิ.
                                    สังฆาฏิ                อิมัง  สังฆาฏิง  อะธิฏฐามิ.
                                    จีวร                     อิมัง  อุตตะราสังคัง  อะธิฏฐามิ.
                                    สบง                    อิมัง  อันตะระวาสะกัง  อะธิฏฐามิ.

                                   ผ้าอาบน้ำฝน        อิมัง  วัสสิกะสาฏิกัง  อะธิฎฐามิ

วันอาทิตย์ที่ 19 กรกฎาคม พ.ศ. 2558

วันเสาร์ที่ 18 กรกฎาคม พ.ศ. 2558

คาถาบูชาพระพุทธสิหิงค์

คาถาบูชาพระพุทธสิหิงค์

มะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ (๓ จบ)
(นำ) หันทะ มะยัง พุทธะปะสังสา คาถาโย พุทธะสิงหิงโค นามะ
ภะณามะ เส.
(รับ) อิติ ปะวะระสิหิงโค อุตตะมะยะโสปิ เตโช
ยัตถะ กัตถะ จิตโตโส สักกาโร อุปาโท
สะกาละพุทธะสาสะนัง โชตะยันโตวะ ทีโป
สุระนะเรหิ มะหิโต ธะระมาโนวะ พุทโธติ.

คำแปล
พุทธสิหิงคา อุบัติมา ณ แดนใด
ประเสริฐ ธ เกริกไกร ดุจกายพระศาสดา
เป็นที่เคารพน้อม มนุษย์พร้อมทั้งเทวา
เปรียบเช่นชวาลา ศาสนาที่ยืนยง
เหมือนหนึ่งพระสัมพุทธ สุวิสุทธิ์พระชนม์คง
แดนใดพระดำรง พระศาสน์คงก็จำรูญ
ด้วยเดชสิทธิศักดิ์ ธ พิทักษ์อนุกูล
พระศาสน์บ่มีสูญ พระเพิ่มพูลมหิทธา
ข้า ฯ ขอเคารพน้อม วจีค้อมขึ้นบูชา
พิทักษ์ ธ รักษา พระศาสน์มาตลอดกาล
ปวงข้า ฯ จะประกาศ พุทธศาสน์ให้ไพศาล

ขอพระอภิบาล ชินมารนิรันดร์ เทอญ

วันศุกร์ที่ 17 กรกฎาคม พ.ศ. 2558

คำนำถวายดอกไม้ธูปเทียนวันอาสาฬหบูชา

คำนำถวายดอกไม้ธูปเทียนวันอาสาฬหบูชา

                ยะมัมหะ  โข   มะยัง   ภะคะวันตัง   สะระณัง  คะตา  โย   โน   ภะคะวา   สัตถา   ยัสสะ   จะ      มะยัง   ภะคะวะโต  ธัมมัง  โรเจนะ   อะโหสิ   โข   โส  ภะคะวา  อะระหัง   สัมมาสัมพุทโธ  สัตเตสุ   การุญญัง   ปะฏิจจะ  กะรุณายะโก   หิเตสี   อะนุกัมปัง   อุปาทายะ   อาสาฬหะปุณณะมิยัง   พาราณะสิยัง   อิสิปะตะเน   มิคะทาเย  ปัญจะวัคคิยานัง  ภิกขูนัง   อะนุตตะรัง  ธัมมะจักกัง   ปะฐะมัง   ปะวัตเตตวา     จัตตาริ   อะริยะสัจจานิ   ปะกาเสสิ  ฯ
                ตัสมิญจะ  โข   สะมะเย   ปัญจะวัคคิยานัง  ภิกขูนัง   ปะมุโข  อายัสมา   อัญญาโกณฑัญโญ      ภะคะวะโต  ธัมมัง   สุตาวา  วิระชัง   วีตะมะลัง   ธัมมะจักขุง   ปะฏิละภิตวา   ยังกิญจิ   สะมุทะยะธัมมัง   สัพพันตัง   นิโรธะธัมมันติ   ภะคะวันตัง   อุปะสัมปะทัง   ยาจิตวา   ภะคะวะโต   เยวะสันติกา   เอหิภิกขุ   อุปะสัมปะทัง  ปะฏิละภิตวา   ภะคะวะโต   ธัมมะวินะเย   อะริยาสาวะกะสังโฆ   โลเก   ปะฐะมัง          อุปปันโน   อะโหสิ  พุทธะระตะนัง   ธัมมะระตะนัง   สังฆะระตะนันติ   ติระตะมัง   สัมปุณณัง  อะโหสิฯ
                มะยัง   โข   เอตะระหิ  อิมัง   อาสาฬหะปุณณะมีกาลัง   ตัสสะ   ภะคะวะโต      ธัมมะจักกัปปะวัตตะนะกาละสัมมะตัง อะริยะสาวะกะสังฆะอุป ปัตติกาละสัมมะตัญจะ  ระตะนัตตะยะสัมปุณณะกาละสัมมะตัญจะ  ปัตวา   อิมัง   ฐานัง    สัมปัตตา   อิเม    สักกาเร   คะเหตวา   อัตตะโน   กายัง   สักการุปะธานัง   กะริตวา   ตัสสะ   ภะคะวะโต    ยะถาภุจเจ    คุเณ   อะนุสสะรันตา   อิมัง   ถูปัง  (อิมัง   พุทธะปะฏิมัง)   ติกขัตตุง   ปะทักขิณัง   กะริสสามะ   ยะถาคะหิเตหิ   สักกาเรหิ  ปูชัง  กุรุมานา  ฯ
                สาธุ   โน   ภันเต   ภะคะตา    สุจิระปะรินิพพุโตปิ   ญาตัพเพหิ    คุเณหิ   อะตีตารัมมะณะตายะ   ปัญญายะมาโน   อิเม   อัมเหหิ   คะหิเต   สักกาเร   ปะฏิคคัณหาตุ   อัมหากัง    ทีฆะรัตตัง   หิตายะ        สุขายะ  ฯ

คำแปล

                เราทั้งหลายถึงซึ่งพระผู้มีพระภาคพระองค์ใดแล้ว  ว่าเป็นที่พึ่ง   พระผู้มีพระ ภาคพระองค์ใด เป็นพระศาสดาของเราทั้งหลาย อนึ่ง   เราทั้งหลายชอบใจซึ่ง พระธรรม ของพระผู้มีพระภาคพระองค์ใด  พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์ นั้นเป็น พระอรหันต์ตรัสรู้ ชอบเอง   ทรงอาศัยความการุณในสัตว์ทั้งหลาย   ทรงพระกรุณาแสวงหา ประโยชน์ เกื้อกูล   ทรงอาศัยความเอ็นดู   ได้ยังพระธรรมจักรอันยอดเยี่ยมให้เป็นไป    ทรงประกาศ อริยสัจ  ๔   เป็นครั้งแรกแก่พระภิกษุปัญจวัคคีย์   ที่ป่าอิสิปตนมฤคทายวัน    ใกล้กรุง พาราณสีในวันอาสาฬหปุณเณมี
               อนึ่ง  ในสมัยนั้นแล  ท่านพระอัญญาโกณฑัญญะผู้เป็นหัวหน้า ของพระภิกษุ ปัญจวัคคีย์ฟังธรรมของพระผู้มีพระภาคเจ้าแล้ว  ได้ธรรมจักษุอันบริสุทธิ์ปราศจากมลทิน   ว่า  สิ่งใดสิ่งหนึ่งมีความเกิดขึ้นเป็นธรรมดา   สิ่งทั้งปวงนั้น  มีความดับเป็นธรรมดา   จึงทูลขออุปสมบทกะพระผู้มีพระภาคเจ้าเป็นองค์แรกในโลก
               อนึ่ง ในสมัยแม้นั้นแล พระสังฆรัตนะได้บังเกิดขึ้นเป็นครั้งแรก   พระรัตนตรัย   คือ   พระพุทธรัตนะ   พระธรรมรัตนะ   พระสังฆรัตนะ   ได้สมบูรณ์แล้วในโลก
               บัดนี้ เราทั้งหลายแล  มาประจวบมงคลสมัยอาสาฬหปุณณมีวันเพ็ญ อาสาฬหมาสที่รู้พร้อมกันว่า  เป็นวันที่พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น ทรงประกาศ พระธรรมจักรเป็นวันที่เกิดขึ้นแห่ง    พระอริยสงฆ์สาวก  และเป็นวันที่พระรัตนตรัย สมบูรณ์  คือ   ครบ  ๓  รัตนะ  จึงมาประชุมกันแล้ว  ณ  ที่นี้  ถือสักการะเหล่านี้   ทำกายของตนให้เป็นดังภาชนะรับเครื่องสักการะ ระลึกถึงพระคุณตามเป็นจริง ทั้งหลาย ของพระผู้มีพระภาคเจ้านั้น  จักทำประทักษิณสิ้นวาระสามรอบซึ่งพระสถูป (พระพุทธปฏิมา)    นี้  บูชาอยู่ด้วยสักการะอันถือไว้แล้วอย่างไร

                ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ   ขอเชิญพระผู้มีพระภาคเจ้าแม้เสด็จปรินิพพาน   นานมาแล้ว  ยังปรากฏอยู่ด้วยพระคุณสมบัติอันข้าพระพุทธเจ้าทั้งหลายจะพึงรู้   โดยความเป็นอดีตารมณ์  จงทรงชัยเครื่องสักการะ  อันข้าพระพุทธเจ้าทั้งหลายถือ ไว้แล้วนี้   เพื่อประโยชน์    เพื่อความสุข   แก่ข้าพระพุทธเจ้าทั้งหลาย   สิ้นกาลนาน  เทอญ

วันพฤหัสบดีที่ 16 กรกฎาคม พ.ศ. 2558

คำนำถวายดอกไม้ธูปเทียน วันมาฆบูชา


คำนำถวายดอกไม้ธูปเทียน วันมาฆบูชา

อัชชายัง มาฆะปุณณะมี สัมปัตตา มาฆะนักขัตเตนะ ปุณณะ
จันโท ยุตโต ยัตถะ ตะถาคะโต อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ จาตุรังคิเก
สาวะกะสันนิปาเต โอวาทะปาติโมกขัง อุททิสิ ตะทา หิ อัฑฒะเตระสานิ
สัพเพสังเยวะ ขีณาสะวานัง สัพเพ เต เอหิภิกขุกา สัพเพปิ เต อะนา-
มันติตาวะ ภะคะวะโต สันติกัง อาคะเต เวฬุวะเน กะลันทะกะนิวาเป
มาฆะปุณณะมิยัง วัฑฒะมานะภัจฉายายะ ตัสมิญจะสันนิปาเต ภะคะวา 
วิสุทธุโปสะถัง อะกาสิ อะยัง อัมหากัง ภะคะวะโต เอโกเยวะ สาวะกะ-
สันนิปาโต อะโหสิ จาตุรังคิโก อัฑฒะเตระสานิ ภิกขุสะตานิ สัพเพ-
สังเยวะ ขีณาสะวานัง มะยันทานิ อิมัง มาฆะปุณณะมี นักขัตตะสะมะยัง
ตักกาละสะทิสัง สัมปัตตา จิระปะรินิพพุตัมปิ ตัง ภะคะวันตัง อะนุส-
สะระมานา อิมัสมิง ตัสสะ ภะคะวะโต สักขิภูเต เจติเย อิเมหิ
ทีปะธูปะปุปผาทิสักกาเรหิ ตัง ภะคะวันตัง ตานิ จะ อัฑฒะเตระสานิ
ภิกขุสะตานิ อะภิปูชะยามะ สาธุ โน ภันเต ภะคะวา สะสาวะกะสังโฆ
สุจิระปะรินิพพุโต คุเณหิ ธะระมาโน อิเท สักกาเร ทุคคะตะปัณณา-
การะภูเต ปะฏิคคัณหาตุ อัมหากัง ทีฆะรัตตัง หิตายะ สุขายะ

คำแปล

วันนี้มาประจวบวันมาฆปุรณมี เพ็ญเดือน ๓ พระจันทร์เพ็ญประกอบ
ด้วยฤทธิ์มาฆะ ตรงกับวันที่พระตถาคตอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า ได้ทรงแสดง
โอวาทปาติโมกข์ขึ้น ในที่ประชุมสาวกสงฆ์พร้อมด้วยองค์ ๔ ประการ ครั้งนั้น
พระภิกษุ ๑๒๕๐ องค์ ล้วนแต่พระขีณาสพ อุปสมบทด้วยเอหิภิกขุอุปสัมปทา
ไม่มีผู้ใดเรียก มาประชุมยังสำนักพระผู้มีพระภาค ณ เวฬุวนาราม เวลาตะวัน
บ่ายในวันมาฆปุรณมี, แลสมเด็จพระผู้มีพระภาคเจ้าได้ทรงทำวิสุทธอุโบสถ
ทรงแสดงโอวาทปาติโมกข์ขึ้น ณ ที่ประชุมนั้น การประชุมสาวกสงฆ์พร้อม
ด้วยองค์ ๔ ของพระผู้มีพระภาคเจ้าแห่งเราทั้งหลายนี้ ได้มีครั้งเดียวเท่านั้น
พระภิกษุ ๑๒๕๐ องค์ล้วนแต่พระขีณาสพ บัดนี้เราทั้งหลายมาประจวบ
มาฆปุณมีนักขัตสมัยนี้ ซึ่งคล้ายกับวันจาตุรงคสันนิบาตนั้นแล้ว มาระลึกถึง 
พระผู้มีพระภาคนั้นแม้ปรินิพพานนานมาแล้ว จะเคารพบูชาพระผู้มีพระภาค
แลภิกษุ ๑๒๕๐ องค์นั้น ด้วยสักการะทั้งหลายมีเทียนธูปแลดอกไม้เป็นต้น
เหล่านี้ในเจดีย์สถานนี้ ซึ่งเป็นพยานของพระผู้มีพระภาคเจ้านั้น ข้าแต่พระ-
องค์ผู้เจริญ ขอเชิญพระผู้มีพระภาคพร้อมด้วยสาวกสงฆ์ แม้ปรินิพพานนาน
มาแล้วด้วยดี ยังเหลืออยู่แต่พระคุณทั้งหลาย จงทรงรับสักการบรรณการ
คนยากเหล่านี้ของข้าพระพุทธเจ้าทั้งหลาย เพื่อประโยชน์ เพื่อความสุข แก่
ข้าพระพุทธเจ้าทั้งหลายสิ้นกาลนาน เทอญ.

วันพุธที่ 15 กรกฎาคม พ.ศ. 2558

คำนำถวายดอกไม้ธูปเทียน วันวิสาขบูชา

คำนำถวายดอกไม้ธูปเทียน วันวิสาขบูชา
ยะมัมหะ โข มะยัง ภะคะวันตัง สะระณัง คะตา, โย โน
ภะคะวา สัตถา, ยัสสะ จะ มะยัง ภะคะวะโต ธัมมัง โรเจมะ, อะโหสิ 
โข โส ภะคะวา มัชฌิเมสุ ชะนะปะเทสุ อะริยะเกสุ มะนุสเสสุ
อุปปันโน, ขัตติโย ชาติยา โคตะโม โคตเตนะ, สักยะปุตโต สักยะกุลา
ปัพพะชิโต สะเทวะเก โลเก สะมาระเก สะพรัหมะเก สัสสะมะณะ-
พราหมะณิยา ปะชายะ สะเทวะมะนุสสายะ อะนุตตะรัง สัมมาสัมโพธิ
อะภิสัมพุทโธ, นิสสังสะยัง โข โส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ
วิชชาจะระณะสัมปันโน สุคะโต โลกะวิทู อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะ-
สาระถิ สัตถาเทวะมะนุสสานัง พุทโธ ภะคะวา, สวากขาโต โข ปะนะ
เตนะ ภะคะวะตา ธัมโม, สันทิฏฐิโก อะกาลิโก เอหิปัสสิโก โอปะนะ-
ยิโก, ปัจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญญูหิ, สุปะฏิปันโน โข ปะนัสสะ
ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, อุชุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ,
ญายะปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, สามีจิปะฏิปันโน
ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, ยะทิทัง จัตตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะ ปุริสะ-
ปุคคะลา เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, อาหุเนยโย ปาหุเนยโย
ทักขิเณยโย อัญชะลีกะระณีโย อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสะ,
                        ถูโป 
อะยัง โข ปะนะ                                            ตัง
                                    ปะฏิมา
อุททิสสะ กะโต
ภะคะวันตัง                                                              ยาวะเทวะ ทัสสะเนนะ ตัง ภะคะวันตัง
                         อุททิสสะ กะตา
อะนุสสะริตํวา ปะสาทะ สังเวคะปะฏิลาภายะ, มะยัง โข เอตะระหิ อิมัง 
วิสาขะปุณณะมีกำลัง ตัสสะ ภะคะวะโต ชาติสัมโพธินิพพานะกาละ
สัมมะตัง
(ถ้าวันอัฏฐมี เปลี่ยนข้อความที่ขีดเส้นใต้เป็น เอตะระหิ อิมัง
วิสาขะปุณณะมิโตปะรัง อัฏฐะมีกำลัง ตัสสะ ภะคะวะโต สะรีรัชฌา-
ปะนะกาละ สัมมะตัง) ปัตวา อิมัง ฐานัง สัมปัตตา, อิเม ทัณฑะที-
ปะธูปาทิ สักกาเร คะเหตวา อัตตะโน กายัง สักการุปะธานัง
กะริตวา ตัสสะ ภะคะวะโต ยะถาภุจเจ คุเณ อะนุสสะรันตา,
                                    ถูปัง
อิมัง                                                   ติกขัตตุง ปะทักขิณัง กะริสสามะ
                                   ปะฏิมัง
อิมัง ยะถา คะหิเตหิ สักกาเรหิ ปูชัง กุรุมานา, สาธุ โน ภันเต
ภะคะวา สุจิระปะรินิพพุโตปิ ญาตัพเพหิ คุเณหิ อะตีตารัมมะณะตายะ
ปัญญายะ มาโน, อิเม อัมเหหิ คะหิเต สักกเร ปะฏิคคัณหาตุ อัมหากัง
ทีฆะรัตตัง หิตายะ สุขายะ.



(คำแปล)

            เราทั้งหลายถึงซึ่งพระผู้มีพระภาคพระองค์ใดว่าเป็นที่พึ่ง, พระผู้มี
พระภาคพระองค์ใดเป็นศาสดาของเราทั้งหลาย แลเราทั้งหลายชอบซึ่งธรรม
ของพระผู้มีพระภาคพระองค์ใด, พระผู้มีพระภาคพระองค์นั้นแล ได้อุบัติ
แล้วในหมู่มนุษย์ ชาวอริยกะในมัชฌิมชนบท, พระองค์เป็นกษัตริย์โดย
พระชาติ เป็นโคดมโดยพระโคตร, เป็นศากยบุตรเสด็จออกบรรพชาแล้วแต่ 
ศากยสกุล เป็นผู้ตรัสรู้พร้อมเฉพาะแล้วซึ่งพระอนุตตรสัมมาสัมโพธิญาณ
ในโลกทั้งเทวโลก มารโลก พรหมโลก ในหมู่สัตว์ทั้งสมณพราหมณ์เทวดาแล
มนุษย์ พระผู้มีพระภาคเจ้านั้นเป็นพระอรหันต์ เป็นผู้ตรัสรู้ชอบเอง เป็นผู้
ถึงพร้อมด้วยวิชชาและจรณะ เป็นผู้เสด็จไปดีแล้ว เป็นผู้รู้แจ้งโลก เป็นสารถี
แห่งบุรุษควรฝึกได้ ไม่มีผู้อื่นยิ่งไปกว่า เป็นศาสดาของเทวดาและมนุษย์ทั้ง
หลาย เป็นผู้ตื่นแล้ว เป็นผู้เบิกบานแล้ว เป็นผู้มีโชค โดยไม่ต้องสงสัยแล
อนึ่ง พระธรรมอันพระผู้มีพระภาคเจ้านั้นตรัสดีแล้ว อันผู้บรรลุจะพึงเห็นเอง
ไม่ประกอบด้วยกาล ควรเรียกให้มาดู ควรน้อมเข้ามา อันวิญญูชนพึงรู้เฉพาะ
ตน และพระสงฆ์สาวกของพระผู้มีพระภาคเจ้านั้น เป็นผู้ปฏิบัติดีแล้วแล เป็น
ผู้ปฏิบัติตรงแล้ว เป็นผู้ปฏิบัติเป็นธรรม, เป็นผู้ปฏิบัติสมควร, นี้คือคู่แห่ง
บุรุษสี่ บุรุษบุคคลแปด, นี่พระสงฆ์สาวกของพระผู้มีพระภาค, เป็นผู้ควร
ของคำนับ เป็นผู้ควรของต้อนรับ เป็นผู้ควรของทำบุญ เป็นผู้ควรทำอัญชลี
                                                                                                            พระสถูป 
(ประนมมือไหว้) เป็นนาบุญของโลก ไม่มีนาบุญอื่นยิ่งกว่า
                                                                                                            พระปฏิมา นี้แล
นักปราชญ์ ได้อุทิศเฉพาะต่อพระผู้มีพระภาคเจ้านั้น สร้างไว้แล้วเพียงเพื่อ
ระลึกถึงพระผู้มีพระภาคเจ้านั้นด้วยทรรศนะแล้ว ได้ความเลื่อมใสแลสังเวช
บัดนี้เราทั้งหลายมาถึง กาลวิสาขปุรณมี เป็นที่รู้กันว่า กาลเป็นที่ประสูติ
ตรัสรู้ แลเสด็จปรินิพพานแห่งพระผู้มีพระภาคเจ้านั้น
(ถ้าวันอัฏฐมี เปลี่ยน
ข้อความที่ขีดเส้นใต้ เป็น กาลที่ครบ ๘ เบื้องหน้าแต่วันวิสาขปุรณมี เป็นที่รู้ 
กันว่า กาลเป็นที่ถวายพระเพลิงพระสรีระ แห่งพระผู้มีพระภาคเจ้านั้น) จึง
มาประชุมกันแล้ว ณ ที่นี้ ถือสักการะมีประทีปด้ามแลธูปเป็นต้นเหล่านี้ ทำ
กายของตนให้เป็นดังภาชนะรับเครื่องสักการะ ระลึกถึงพระคุณตามเป็นจริง
ทั้งหลายของพระผู้มีพระภาคเจ้านั้น บูชาด้วยสักการะอันถือไว้แล้วอย่างไร
                                                                                    พระสถูป

จักทำประทักษิณสิ้นวาระสามรอบ           ซึ่ง                              นี้ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ
                                                                                    พระปฏิมากร
ขอเชิญพระผู้มีพระภาคเจ้าแม้เสด็จปรินิพพานนานมาแล้ว ยังปรากฏอยู่ด้วย
พระคุณสมบัติอันข้าพระพุทธเจ้าทั้งหลาย จะพึงรู้โดยความเป็นอตีตารมณ์
จงทรงรับซึ่งเครื่องสักการะอันข้าพระพุทธเจ้าทั้งหลายถือไว้แล้วนี้ เพื่อประ-
โยชน์ เพื่อความสุขแก่ข้าพระพุทธเจ้าทั้งหลายสิ้นกาลนาน เทอญ

คาถาสวดเมื่อดับเทียนชัย

คาถาสวดเมื่อดับเทียนชัย
ทุกพระราชพิธี

นัตถิ เม สะระณัง อัญญัง
พุทโธ เม สะระณัง วะรัง
โหตุ เต ชะยะมังคะลัง
เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ
นัตถิ เม สะระณัง อัญญัง
ธัมโม เม สะระณัง วะรัง
เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ
โหตุ เต ชะยะมังคะลัง
นัตถิ เม สะระณัง อัญญัง
สังโฆ เม สะระณัง วะรัง
เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ
โหตุ เต ชะยะมังคะลัง


ยังกิญจิ วิตตัง อิธะ วา หุรัง วา
สัคเคสุ วา ยัง ระตะนัง ปะณีตัง
นะ โน สะมัง อัตถิ ตะถาคะเตนะ
อิทัมปิ พุทเธ ระตะนัง ปะณีตัง
เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหตุ
ขะยัง วิราคัง อะมะตัง ปะณีตัง
ยะทัชฌะคา สักยะมุนี สะมาหิโต
นะ เตนะ ธัมเมนะ สะมัตถิ กิญจิ
อิทัมปิ ธัมเม ระตะนัง ปะณีตัง
เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหตุ
ยัมพุทธเสฏโฐ ปะริวัณณะยี สุจิง
สะมาธิมานันตะริกัญญะมาหุ
สะมาธินา เตนะ สะโม นะ วิชชะติ
อิทัมปิ ธัมเม ระตะนัง ปะณีตัง
เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหตุ
เย ปุคคะลา อัฏฐะ สะตัง ปะสัตถา
จัตตาริ เอตานิ ยุคานิ โหนติ
เต ทักขิเณยยา สุคะตัสสะ สาวะกา
เอเตสุ ทินนานิ มะหัปผะลานิ
อิทัมปิ สังเฆ ระตะนัง ปะณีตัง
เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหตุ
เย สุปปะยุตตา มะนะสา ทัฬเหนะ
นิกกามิโน โคตะมะสาสะนัมหิ
เต ปัตติปัตตา อะมะตัง วิคัยหะ
ลัทธา มุธา นิพพุติง ภุญชะมานา
อิทัมปิ สังเฆ ระตะนัง ปะณีตัง
เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหตุ
ขีณัง ปุราณัง นะวัง นัตถิ สัมภะวัง
วิรัตตะจิตตายะติเก ภะวัสมิง
เต ขีณะพีชา อะวิรุฬหิฉันทา
นิพพันติ ชีรา ยะถายัมปะทีโป
อิทัมปิ สังเฆ ระตะนัง ปะณีตัง
เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหตุ
สัพพะโรคะวินิมุตโต
สัพพะสันตาปะวัชชิโต
สัพพะเวระมะติกกันโต

ยะถาทีโป จะ นิพพุโต

วันอังคารที่ 14 กรกฎาคม พ.ศ. 2558

คาถาสวดเมื่อจุดเทียนชัย พระราชพิธีพิรุณศาสตร์

คาถาสวดเมื่อจุดเทียนชัย
พระราชพิธีพิรุณศาสตร์
พุทโธ สัพพัญญุตะญาโณ               ธัมโม โลกุตตะโร วะโร
สังโฆ มัคคะผะลัฏโฐ จะ                            อิจเจตัง ระตะนัตตะยัง
เอตัสสะ อานุภาเวนะ                                  เทโว วัสสะตุ กาละโต

วัสสันตะรายา มาเหสุง                               สัพพะโสตถี ภะวันตุ โน

วันจันทร์ที่ 13 กรกฎาคม พ.ศ. 2558

คาถาสวดเมื่อจุดเทียนชัย

คาถาสวดเมื่อจุดเทียนชัย
 (ในพระราชพิธีสัมพัจฉรฉันท์ และพระราชพิธีอื่น)

       พุทโธ สัพพัญญุตะญาโณ
ธัมโม โลกุตตะโร วะโร
สังโฆ มัคคะผะลัฏโฐ จะ
อิจเจตัง ระตะนัตตะยัง
เอตัสสะ อานุภาเวนะ
สัพพะทุกขา อุปัททะวา
อันตะรายา จะ นัสสันตุ
สัพพะโสตถี ภะวันตุเต.

วันเสาร์ที่ 11 กรกฎาคม พ.ศ. 2558

คาถาขอฝน

คาถาขอฝน
(สวดตามกำลังวัน)

สุภูโต จะ มะหาเถโร
นีละวัณโณ มะหาเตโช
อะภิตถะนะยัง ปะชุนนะ
กากัง โสกายะ รันเธหิ

มะหากาโย มะโหทะโร
ปะวัสสันตุ วะลาหะกา
นิธิง กากัสสะ นาสะยะ
มัจเฉ โสกา ปะโมจะยะ ฯ

คาถาขอฝน
(อีกแบบหนึ่ง)

สุภูโต จะ มะหาเถโร                       มะหากาโย มะโหทะโร

นีละวัณโณ มะหาเตโช..                  ปะวัสสันตุ วะลาหะกา.....


ฉันนา เม กุฏิกา สุขา นิวาตา
วัสสะ เทวะ ยะถาสุขัง
จิตตัง เม สุสะมาหิตัง วิมุตตัง

อาตาปี วิหะรามิ วัสสะ เทวาติ ฯ

วันศุกร์ที่ 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2558

คาถาท้าวมหาราชทั้ง ๔ (คาถาสวดขอฝนเมื่อฝนแล้ง)

คาถาท้าวมหาราชทั้ง ๔ (คาถาสวดขอฝนเมื่อฝนแล้ง)
    
    ปุริมัญจะ ทิสัง ราชา ธะตะรัฏโฐ ปะสาสะติ
    คันธัพพานัง อาธิปะติ มะหาราชา ยะสัสสิ โส
    ปุตตาปิ ตัสสะ พะหะโว อินทะนามา มะหัพพะลา
    อิทธิมันโต ชุติมันโต วัณณะวันโต ยะสัสสิโน
    โมทะมานา อะภิกกามุง ภิกขูนัง สะมิติง วะนัง
    ทักขิณัญจะ ทิสัง ราชา วิรุฬโห ตัปปะสาสะติ
    กุมภัณฑานัง อาธิปะติ มะหาราชา ยะสัสสิ โส
    ปุตตาปิ ตัสสะ พะหะโว อินทะนามา มะหัพพะลา
    อิทธิมันโต ชุติมันโต วัณณะวันโต ยะสัสสิโน           
    โมทะมานา อะภิกกามุง ภิกขูนัง สะมิติง วะนัง-
     
    ปัจฉิมมัญจะ ทิสัง ราชา วิรูปักโข ปะสาสะติ
    นาคานัง อาธิปะติ มะหาราชา ยะสัสสิ โส
    ปุตตาปิ ตัสสะ พะหะโว อินทะนามา มะหัพพะลา
    อิทธิมันโต ชุติมันโต วัณณะวันโต ยะสัสสิโน
    โมทะมานา อะภิกกามุง ภิกขูนัง สะมิติง วะนัง
    อุตตะรัญจะ ทิสัง ราชา กุเวโร ตัปปะสาสะติ
    ยักขานัง อาธิปะติ มะหาราชา ยะสัสสิ โส
    ปุตตาปิ ตัสสะ พะหะโว อินทะนามา มะหัพพะลา
    อิทธิมันโต ชุติมันโต วัณณะวันโต ยะสัสสิโน

    โมทะมานา อะภิกกามุง ภิกขูนัง สะมิติง วะนัง ฯ